50 ปี ที่ผูกพัน รักกันตลอดไป 50 Years of Love, always in my mind.
มาทำความรู้จัก "ศูนย์ศตวรรษิกชนไทย (Thai Centenarians Center)"
เมื่อสังคมไทยมีแนวโน้มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุวัยปลายที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไป รวมถึงผู้ที่มีอายุ 100 ปีขึ้นไป การศึกษาในประเด็นเรื่อง “ศตวรรษิกชน คนร้อยปี” จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อไปในอนาคต
“ศูนย์ศตวรรษิกชน” ได้จัดตั้งโดยสถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล ตั้งแต่ปี 2553 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เป็นแหล่งข้อมูลความรู้ ประกอบด้วยเรื่องราว บทความ สถิติตัวเลข คำศัพท์ นานาสาระ ที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุตอนปลายและคนร้อยปี นอกจากนี้ศูนย์ฯ ยังได้จัดกิจกรรมเพื่อติดตามชีวิตความเป็นอยู่ วิถีปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย และเคล็ดลับของการมีอายุยืนยาวของผู้สูงอายุวัยปลายและศตวรรษิกชนไทยอีกด้วย
ขอเชิญชวนผู้สนใจมาเยี่ยมชมและร่วมติดตามสถานการณ์และเรื่องราวของ ศตวรรษิกชนไทยผ่านทางเว็บไซต์ https://thaicentenarian.mahidol.ac.th/
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
website: https://ipsr.mahidol.ac.th
การเข้าถึงบริการทางสังคมของประชากรก่อนวัยสูงอายุและผู้สูงอายุที่มีรูปแบบการอยู่อาศัยต่างกัน
เมื่อประเทศไทยกำลังเข้าสูงสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ สิ่งสำคัญคือการดูแลผู้สูงอายุทั้งจากในครอบครัว และการเข้าถึงบริการทางสังคม
ในขณะที่ครอบครัวไทยก็มีขนาดเล็กลง จากที่เคยมีสมาชิก 5 คนต่อครัวเรือนเหลือเพียง 3 คนต่อครัวเรือน และมีครัวเรือนที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่ตามลำพังสูงขึ้น จึงเกิดคำถามว่า ผู้สูงอายุที่อยูกันตามลำพังเหล่านี้จะดำเนินชีวิตอย่างไรเมื่อเจ็บป่วยหรือต้องกลายเป็นผู้พึ่งพิง?
รับฟังแนวคิดจากข้อมูลผลการศึกษาของโครงการวิจัย “การเข้าถึงบริการทางสังคมของประชากรก่อนวัยสูงอายุและผู้สูงอายุที่มีรูปแบบการอยู่อาศัยต่างกัน เพื่อนำไปสู่แนวทางการสนับสนุนการบริการที่เหมาะสม” สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการสนับสนุนจาก มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มสผส.) เพื่อนำเสนอข้อมูลสำหรับการวางมาตรการเพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้เข้าถึงบริการทางสังคมที่รัฐจัดให้อย่างทั่วถึง และเหมาะสม
โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.ปราโมทย์ ประสาทกุล ที่ปรึกษาโครงการฯ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ติดตาม ศูนย์ศตวรรษิกชนไทย (Thai Centenarians Center)
Website: https://thaicentenarian.mahidol.ac.th
Facebook: https://www.facebook.com/IPSRMAHIDOLUNIVERSITY
YouTube: https://youtu.be/q3kEm_dbBK0
Thai Health Report 2021
ข้อมูล และบทสังเคราะห์ประเด็นทางสุขภาพที่เชื่อถือและอ้างอิงได้ “รายงานสุขภาพคนไทย”
สำหรับรายงานสุขภาพคนไทย 2564 ขอเชิญทุกท่านติดตามประเด็นที่น่าสนใจ ได้แก่
- COVID-19 มหันตภัยร้ายเขย่าโลก
- ตัวชี้วัด “สุขภาพพื้นที่”
- สถานการณ์เด่นทางสุขภาพในรอบปี
ติดตามได้ที่ https://www.thaihealthreport.com
Facebook: https://www.facebook.com/Thaihealthreport
YouTube: https://youtu.be/ZM_EQiEWewY
แนะนำสุขภาพคนไทย
ตัวชี้วัดสุขภาพพื้นที่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล แจ่มจันทร์
เริ่องพิเศษ "COVID-19 มหันตภัยร้ายเขย่าโลก" โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภูเบศร์ สมุทรจักร
10 สถานการณ์เด่นในรอบปี และ 4 ผลงานดีๆ เพื่อสุขภาพคนไทย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สักกรินทร์ นิยมศิลป์
10 หมวดตัวชี้วัดสุขภาพพื้นที่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนสิการ กาญจนะจิตรา
Migrant Children's Education in Thailand
Mahidol Channel presented the "Birth and Security in Population and Society."
Episode 1: It has been ten years since IPSR has held the Annual Population Conference. This year’s Conference “Birth and Security in Population and Society” was scheduled for 1 July 2014, aimed to disseminate updates and findings on population-related policies and situations. Mahidol Channel presented parts of the Conference. In this first episode, Prof. Pramote Prasartkul talked on “How do births affect Thai Security?”, followed by three topics, namely “The situation of births during the past half-century” by Assoc. Prof. Patama Vapattanawong, “Why women are not married: Where have men gone missing?” by Lect. Sutthida Chuanwan and “Thai family formation in the context of the second demographic transition” by Assoc. Prof. Amara Soonthorndhada. To view this episode, go to http://www.mahidolchannel.com/tvprograms.php?catid=33&subcatid=617 |
Episode 2: Mahidol Channel presented the second episode of the Birth and Security in Population and Society, which was the policy. Four topics were presented in this episode: “Too few births? A review of policy responses” by Lect. Manasigan Kanchanachitra and Ms. Nucharaporn Liangruenrom; “Low fertility and policy responses in Thailand and Japan: Older persons and women in the workforce” by Ms. Suporn Jaratsit; “Do child care facilities allow people to have more children?” by Lecturer Jongjit Rittirong; and “Laws binding the Thai state and protecting human births as a factor for population and social security” by Assoc. Prof. Phunthip Kanchanachitra Saisoonthorn. To view this episode, go to:- |
Episode 3: Mahidol Channel presented the third episode of the Birth and Security in Population and Society. This episode covered Parts 3 and 4. Part 3 concerned the families and pregnancy, including the topic “Risk factors influencing teenage pregnancy: A qualitative study” presented by Lect. Pojjana Hunchangsith, and “Unintended pregnancy: Violence against pregnant women and its impact on childbirth condition” presented by Ms. Pattraporn Chuenglertsiri. Part 4 talked about perspectives through the following topics: “Attitudes of young people about getting married and having children” by Asst. Prof. Pimonpan Isarabhakdi, “Lifestyle, life plans and the decision to have children among generation Y” by Asst. Prof. Bhubate Samutachak, and “Sexual attitude among new generations” by Asst. Prof. Umaporn Pattaravanich. To view this episode, go to:- |
Episode 4: Mahidol Channel released the fourth episode of the Birth and Security in Population and Society. This final episode presented the issue “Having children in view of the new generation” discussed by three invited guests: Mr. Aswin Techajareonvikul, President and Chief Executive Officer of Berli Jucker Public Co., Ltd; Mrs. Punyawee Sukkulworasate, Newscaster and Host of Jaew” Program; and Mr. Narongpol Sathorn, Vice President of Mahidol University’s Student Association and Former Chairman of the Thailand National Debate Council. Asst. Prof. Bhubate Samutachak moderated the session that revealed attitudes of young generations toward marriage, settling down, and having children. New findings, issues, and recommendations from the discussion could be solutions to problems and benefit further studies. To view this episode, go to:- |