 |
- Background
- Courses
- Application & Admission
- Download
- Contact Us
- Voice of Alumnus
- Course Description
The Institute
for Population and Social Research (IPSR) was designated as a research
and postgraduate teaching institute with the status of a university faculty
in 1971. Since then IPSR has focused its development to become a population
research and training center. IPSR is mandated to undertake four interrelated
activities: research, training, academic services, and information dissemination.
IPSR has an outstanding reputation, both nationally and internationally,
for excellence in research and teaching, professional training and the
promotion of public discussion of population issues. Many staff members
are involved in consultancy work around the country and collaborative
research activities in neighboring countries. IPSR also has excellent
connections with overseas universities and funding agencies. Key broad
areas of research include: demographic transition, family and society,
reproductive health, sexuality and HIV/AIDS, population and health, labor,
migration and urbanization, population and environment, gender and development
studies, Southeast Asia population studies, and emerging issues.
Degree
Training
Master of Arts Program in Population and Social Research
M.A. (Population and Social Research)
The Master of Arts Program in Population and Social Research was approved
by the Ministry of University Affairs in 1978. One of the Institute's
greatest strengths is its wide range of academic expertise, which facilitates
the understanding of the many complex academic disciplines compassed in
population and social science research.
Program
Objectives
a). To produce population and social science scholars capable of applying
professional social and population theories related to population behavior
(such as fertility, migration, family planning, health, urbanization,
labor, population and development, etc.) and academic research, both quantitative
and qualitative, to generate new knowledge to improve population and social
programs, including those that improve population’s quality of life.
b). To produce high quality university instructors, researchers,
and social science experts with the academic, ethical, and moral foundations
that will enable them to analyze demographic and social data for policy
makers, planners, and implementers.
Admission
Requirements
To be admitted to the program, applicants must:
a) hold a bachelors degree or be approved for a fourth year of undergraduate
study in a related field of study,
b) have an undergraduate GPA of at least 2.75,
c) be proficient in English reading, speaking, and writing (as evidenced
by a TOEFL score of no less than 500),
d) pass the entrance examination and interview conducted by selected committee
members.
Graduation
Requirements
a) Students must complete all requirements for the degree within 5 years
from the date of enrolment.
b) This degree comprises both coursework and thesis components. The assigned
subjects under curriculum structure are :
Required courses: 15 credits
Elective courses: 12 credits
Thesis 12 credits
Total 39 credits
c) Students must complete the thesis in English, up to the standards set
by the Faculty of Graduate Studies.
Student
Support
a). The William and Flora Hewlett Foundation and the Wellcome Trust provide
2-3 scholarships and grants for thesis support through IPSR.
b). The Faculty of Graduate Studies, Mahidol University also provides
grants for partial thesis support and research assistance.
c). Other sources come from the Royal Bangkok Sports Club and the Professor
Visid Prachuabmoh Foundation.
Scholarships
Scholarships for Master and Doctoral level now available for Thai and international students
For more information, please contact: (66)2-4410201 ext 303 or ploychompoo.suk@mahidol.ac.th
For thai version , click here
Program Officer:
Institute for Population and Social Research,
Mahidol University
Salaya, Phutthamonthon, Nakhon Pathom 73170, Thailand
Tel. (66) 2441-0201-4
Fax (66) 2441-9333
Website: www.ipsr.mahidol.ac.th
Course Description
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยประชากรและสังคม
Master of Arts Program in Population and Social Research
(๑) หมวดวิชาบังคับ
|
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วจปส ๕๓๐ ทฤษฎีสังคมร่วมสมัย
PRPR 530 Comtemporary Social Theories |
๓ (๓-๐-๖) |
รากฐานขององค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์ ปรัชญา กระบวนทัศน์ ทฤษฎีและแนวคิดหลักทางสังคม พัฒนาการ ประวัติศาสตร์และความเชื่อมโยงของกระบวนทัศน์และทฤษฎีทางสังคมต่างๆ การวิพากษ์หลักการที่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป ข้อโต้แย้งใหม่ที่สำคัญของสำนักคิดทางสังคมต่างๆ และการประยุกต์ทฤษฎีและแนวคิดในการอธิบายปรากฎการณ์ทางประชากรและสังคมอย่างมีจริยธรรม
The foundation of body of knowledge in social sciences; philosophies; paradigms; theories and social principle concepts; development; history and connectivity of various social theories and social paradigms; criticizing axioms and new arguments of various social schools of thoughts; and applying theories and conceptes to explain population and social phenomena with ethics |
|
วจปส ๕๕๐ สารัตถประชากรศาสตร์
PRPR 550 Substantive Demography |
๓ (๓-๐-๖) |
ทฤษฎีทางประชากรศาสตร์ ขนาด โครงสร้าง การกระจายตัว และการเปลี่ยนแปลงทางประชากร ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางประชากรเกี่ยวกับด้านชาติพันธุ์ สังคม เศรษฐกิจ สังคม การประยุกต์ทฤษฎีทางประชากรกับข้อมูลการวิจัยทางประชากร อนามัยเจริญพันธุ์และเอชไอวี/เอดส์ ภาวะเจริญพันธุ์ ภาวะสมรส ภาวะการตาย ตารางชีพ การย้ายถิ่น นโยบายประชากรและทิศทางการวิจัยทางประชากรบนพื้นฐานจริยธรรม
Population theories; population size, structure, distribution and changes; factors affecting change in population related to ethnicity, socio-economic aspects; applying population theories to data on demographic research; reproductive health, and HIV/AIDS; nuptiality; mortality; life table; migration; population policy and directions of population research with ethics |
|
วจปส ๕๕๔ เทคนิคการวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์
PRPR 554 Techniques of Demographic Analysis |
๓ (๓-๐-๖) |
การมีจริยธรรมในการใช้เทคนิคพื้นฐานในการวิเคราะห์ทางประชากรศาสตร์ และการประยุกต์แนวคิดทางประชากรศาสตร์ในการวิเคราะห์ ประโยชน์จากการนำไปใช้ แหล่งข้อมูลต่างๆ การรวบรวมข้อมูล การวัดและการวิเคราะห์ภาวะเจริญพันธุ์ การสมรส การตาย การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง การวัดต่างๆ ทางประชากร ตารางชีพ วิธีการคาดประมาณประชากร
Ethical concerning on applying fundamental techniques of demographic analysis by applying demographic concept; its application; data sources; data collection; measurements and analyses of fertility; nuptiality; mortality; migration; urbanization; demographic measurements life table and population projection methods |
|
วจปส ๕๕๕ การวิจัยเชิงปริมาณ
PRPR 555 Quantitative Research |
๓ (๒-๒-๕) |
หลักการและระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์เชิงปริมาณ การทำงานเป็นกลุ่ม แหล่งข้อมูลเชิงปริมาณ จริยธรรมการวิจัยที่เกี่ยวข้อง การกำหนดประเด็นปัญหาการวิจัย หัวข้อการวิจัย วัตถุประสงค์และคำถามการวิจัย การตั้งสมมติฐาน การทบทวนวรรณกรรมและสร้างกรอบแนวคิด การกำหนดตัวแปรและนิยามเชิงปฏิบัติการ การออกแบบวิธีการสุ่มตัวอย่าง การสร้างเครื่องมือการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเบื้องต้น และการนำเสนอผล การฝึกปฎิบัติการวิจัยภาคสนาม การเขียนและการนำเสนอรายงาน
Principles and methodology in quantitative social sciences research; working as a group; quantitative data sources; research ethical concerns; identifying research problem; topic; objectives and questions; setting up research hypothesis; reviews of literature and constructing conceptual framework; defining variables and operational definitions; designing sampling methods; data collection; research tools; analyzing data with basic statistics; presenting the results; field research practices; report writing and presenting |
|
วจปส ๕๕๖ การวิจัยเชิงคุณภาพ
PRPR 556 Qualitative Research |
๓ (๒-๒-๕) |
ปรัชญา แนวคิดพื้นฐาน ทฤษฎี หลักการ แนวทาง และคุณูปการของการวิจัยเชิงคุณภาพทางสังคมศาสตร์ การประเมินจุดอ่อน จุดแข็งของการศึกษาเชิงคุณภาพ ประเด็นทางจริยธรรม การทำงานกลุ่ม วิธีการและเทคนิคการเก็บข้อมูล การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์และการตีความข้อมูล การฝึกปฎิบัติการวิจัยภาคสนาม การเขียนและการนำเสนอรายงาน
Philosophy, basic concepts, theories, principle approaches and contributions of qualitative research in social sciences; evaluation of strengths and weaknesses of qualitative studies; ethical issues; working as a group; methods and techniques of data collection; data management; data analysis and interpretation; field research practices; report writing and presenting |
|
วจปส ๖๒๙ สัมมนาการวิจัยทางประชากรและสังคม
PRPR 629 Seminar in Population and Social Research |
๓ (๓-๐-๖) |
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประเด็นงานวิจัยและทิศทางการวิจัยด้านการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและสังคม การวิเคราะห์และการวิพากษ์งานวิจัยด้านแนวคิดทฤษฎี ระเบียบวิธีวิจัย และจริยธรรมการวิจัย การวิเคราะห์ผล การนำเสนอผล การอภิปรายผล การนำไปใช้ประโยชน์ และการจัดสัมมนาการวิจัยทางประชากรและสังคม
Exchanging opinion on research and its directions on research related to population and social changes; analyzing and criticizing existing research in terms of concepts, theories, methodologies, and research ethics; data analysis; results presentation; discussion; research utilization; conducting seminar in population and social research
|
(๒) หมวดวิชาเลือก
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วจปส ๕๒๓ พฤฒิวิทยาเชิงสังคม
PRPR 523 Social Studies of Aging |
๓ (๓-๐-๖) |
แนวคิด ทฤษฎีและจริยธรรมการวิจัยกับผู้สูงอายุ ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ปัจจัยและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร มาตรวัดต่างๆทางประชากรผู้สูงอายุ ภาวะการเจ็บป่วย ภาวะทุพพลภาพ ภาวะการตาย อายุคาดเฉลี่ย สถานภาพด้านเศรษฐกิจและสังคม สถานภาพการทำงาน เพศภาวะ การย้ายถิ่น ลักษณะการอยู่อาศัย การเกื้อหนุนทางสังคม สุขภาวะทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ ความรุนแรง นโยบาย การจัดบริการและสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ รูปแบบการดูแล และค่าใช้จ่ายในการดูแลระยะยาว แหล่งข้อมูลและทิศทางการวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุ การศึกษาดูงาน
Concepts theories and research ethics on aging; knowledge on changing in population-age structure; determinants and consequences of changing in population structure, measurement on population aging; morbidity; disability; mortality; life expectancy; socio-economic status; employment status; gender; migration; living arrangement; social support; sexuality and reproductive health; violence; national policy on aging; social welfares and management; patterns and cost of long term care; data sources and research direction of aging; study visit |
|
วจปส ๕๒๔ นโยบายประชากรและสังคม
PRPR 524 Population and Social Policy |
๓ (๓-๐-๖) |
หลักการและการกำหนดนโยบายทางประชากรและสังคม เทคนิคและเครื่องมือ การวิเคราะห์นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ สังคม สุขภาพ สิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชน ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
Principles and formulation of population and social policies; techniques and
tools; analysis of policy and plan related to socio-economic, health, environment and human rights; focusing on quantitative and qualitative approaches |
|
วจปส ๕๕๗ สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
PRPR 557 Statistics for Social Science Research |
๓ (๒-๒-๕) |
ทฤษฎีและแนวคิดพื้นฐานทางสถิติเพื่อการวิจัยสังคมศาสตร์ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมาน การทดสอบสมมติฐาน การทดสอบความสัมพันธ์ การวิเคราะห์ข้อมูล การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการแปลผล แบบฝึกหัด การประยุกต์สถิติที่เหมาะสม ประเด็นทางจริยธรรมในการใช้สถิติ
Basic theories and concepts on statistics for social science research; descriptive statistics; inferential statistics; hypothesis testing; association testing; data analysis; using statistical packages and interpreting the results; exercise; applying appropriate statistics; ethical issues in using statistics |
|
วจปส ๕๕๘ สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ขั้นสูง
PRPR 558 Advanced Statistics for Social Science Research |
๓ (๒-๒-๕) |
หลักการใช้สถิติเชิงอนุมานเพื่อการพยากรณ์ สมการเชิงเส้นตรง สมการที่ไม่เป็นเส้นตรง สมการถดถอยพหุคูณเชิงเส้น สมการถดถอยพหุคูณแบบโลจิสติกส์ ที่ตัวแปรตามมีการวัดแบบสองกลุ่ม มากกว่าสองกลุ่มและแบบอันดับ การวิเคราะห์จำแนกพหุ และการวิเคราะห์ด้วยสมการโครงสร้าง แบบฝึกหัด การประยุกต์สถิติให้เหมาะสม ประเด็นทางจริยธรรมในการใช้สถิติขั้นสูง
Priciples of inferential statistics for prediction; linear and nonlinear equation; multiple regression analysis; logistic regression analysis by binary; multinomial and ordinal scale; multiple classification analysis and structural equation model; exercise; applying appropriate statistics; ethical issues in using advanced statistics |
|
วจปส ๕๕๙ ประชากรศาสตร์สุขภาพ
PRPR 559 Health Demography |
๓ (๓-๐-๖) |
แนวคิดทางประชากรกับสุขภาพ แนวคิดวิทยาการระบาดกับสุขภาพ แนวคิดสังคมวิทยากับสุขภาพ แนวคิดมานุษยวิทยากับสุขภาพ การวัดสถานะสุขภาพของประชากร ตัวกำหนดสุขภาพด้านกาย จิต และสังคมของประชากร แหล่งข้อมูลด้านสุขภาพประชากร
Concepts in population and health; epidemiology of health; sociology of health; anthropology of health; measurement of health status; biological, psychological and social determinants of health; data sources on population health |
|
วจปส ๕๗๒ ภูมิภาคศึกษา
PRPR 572 Regional Studies |
๓ (๓-๐-๖) |
ทฤษฎีด้านการพัฒนา ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิเคราะห์พัฒนาการและแนวโน้มการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในเอเชีย การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของภูมิภาค อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ประชาคมอาเซียน เขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้นในด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
Development theories; international relations theories; analysis of development and trends in econiomics of Asian countries; regional economic integration; Greater Mekong Sub-region (GMS), ASEAN community, ASEAN-China Free Trade Agreement (FTA); anaylysis of population, economicand socio-cultural impacts |
|
วจปส ๕๗๔ มานุษยวิทยาการแพทย์
PRPR 574 Medical Anthropology |
๓ (๓-๐-๖) |
วิธีวิทยาและแนวคิดทางมานุษยวิทยา นิเวศวิทยาสุขภาพ วิทยาการระบาดสุขภาพ ความเจ็บป่วยและระบบการแพทย์ในมุมมองทางมานุษยวิทยา ระบบการแพทย์ชาติพันธุ์ ระบบชีววิทยาการแพทย์ เศรษฐศาสตร์การเมืองเรื่องการเจ็บป่วยและการดูแลรักษา การประกอบสร้างทางสังคมของการเจ็บป่วย ความหมายทางสังคมวัฒนธรรมของความเจ็บป่วย ระบบการแพทย์ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงสังคมวัฒนธรรม ความเป็นธรรมด้านสังคม ความเท่าเทียมด้านสุขภาพ
Methodologies and concepts on anthropology; health ecology; health epidemiology; anthropological view of health illness; medical systems; ethno-medicine; biomedicine; political economy of health on illness; care and treatment; social contruction of illness; meanings of illness in sociocultural aspects; medical systems in changing sociocultural context; social justice; health equity |
|
วจปส ๕๗๕ ประชากรและการพัฒนา
PRPR 575 Population and Development |
๓ (๓-๐-๖) |
แนวคิด ทฤษฎีประชากรและการพัฒนา ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรและการพัฒนาในมิติทางประชากร สังคม และเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การศึกษา ความยากจน การย้ายถิ่นและความเป็นเมือง ท้องถิ่น สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ การมีส่วนร่วมของชุมชน สตรีนิยม การพัฒนาอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง วิเคราะห์และวิพากษ์ แนวทางการพัฒนา
Concepts and theories on population and development; relationships between population and development in terms of population, social and economic aspects, human resource development, education, poverty, migration and urbanization, locality, environment and resources, commulity participation, feminism and Greater Mekong Sub-region (GMS) development; analyzing and criticizing; directions of development |
|
วจปส ๕๗๖ เพศภาวะ เพศวิถี และอนามัยเจริญพันธุ์
PRPR 576 Gender Sexuality and Reproductive Health |
๓ (๓-๐-๖) |
แนวคิดเพศภาวะ เพศวิถี สุขภาวะทางเพศ การอนามัยเจริญพันธุ์ มุมมองประชากรศาสตร์กับอนามัยเจริญพันธุ์ การเจริญพันธุ์ การวางแผนครอบครัว การใช้วิธีคุมกำเนิด การทำแท้ง การอนามัยแม่และเด็ก ปัจจัยกำหนดสุขภาวะทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ สิทธิมนุษยชน สิทธิทางเพศ ปัญหาสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ของหญิงและชาย ประเด็นปัญหาสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ที่สำคัญของโลกและภูมิภาค กฎหมายและความยุติธรรมทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับสุขภาวะทางเพศ ประเด็นและแนวโน้มการวิจัยด้านสุขภาวะทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์
Concepts on gender; sexuality; healthy sexuality and reproductive health; demographic aspect of reproductive health; fertility, family planning programs; contraceptive uses; abortion; maternal and child health; determinants of sexual and reproductive health; human rights; sexual rights; problems on women and men’s reproductive health; major problems in sexual and reproductive health at global and regional level; laws and social justice relating to healthy sexuality; issues and research trends in healthy sexuality and reproductive health |
|
วจปส ๕๗๗ วัยรุ่นศึกษา
PRPR 577 Adolescent Studies |
๓ (๓-๐-๖) |
พัฒนาการของวัยรุ่นทั้งด้านร่างกาย จิตใจ การใช้ชีวิต พฤติกรรมสุขภาพอนามัย อนามัยเจริญพันธุ์ พฤติกรรมเสี่ยงทางด้านสุขภาพ คุณภาพชีวิต การวิเคราะห์และการวิพากษ์แนวคิดทฤษฏี ปัจจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การเสพสิ่งเสพติด การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ การทำแท้ง และการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และ เอช ไอ วี หรือเอดส์ นโยบายเกี่ยวกับการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่น
Physical and psychological development of adolescent; lifestyle; health behaviours; reproductive health; health risk behaviours, quality of life; analyzing and criticizing concepts, theories; factors associated with sexual risk behaviours; drug abuse; premarital sex; unwanted pregnancy; abortion; sexually transmitted infections and HIV/AIDS; policies to prevent risk behavior among adolescent |
|
วจปส ๕๘๐ ระบบภูมิสารสนเทศทางสังคมและสุขภาพ
PRPR 580 Social and Health Geographic Information Systems |
๓ (๓-๐-๖) |
แนวคิด วิธีการและองค์ประกอบทางภูมิสารสนเทศ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแผนที่ การได้มาและการนำเข้าข้อมูล การจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล การประยุกต์วิธีการภูมิสารสนเทศเพื่องานวิจัยทางประชากร สังคมและสุขภาพ การนำเสนอข้อมูลด้วยแผนที่
Concepts, methods, and composition of Geographic Information Systems; concepts and meaning related to map; data acquisition and entry; data management and analysis; application of geographic information system for research on population, health, and social research; presentation in maps |
|
วจปส ๕๘๓ การติดตามและประเมินผลนโยบายและโครงการ
PRPR 583 Monitoring and Evaluation of Policy and Programs |
๓ (๓-๐-๖) |
ความหมายและความสำคัญ ประเภท วิธีวิจัยในการวิจัยประเมินผล แนวคิดพื้นฐานของการติดตามและประเมินผลด้านประชากรและสุขภาพ การพัฒนาแผนการติดตามและประเมินผล กรอบการประเมิน ตัวชี้วัด ระบบข้อมูล การออกแบบการประเมินผลกระทบของโครงการ สถิติที่ใช้ในการติดตามและประเมินผลโครงการ
Meanings and importance, types of evaluation methods; basic concepts of monitoring and evaluation on population and health; development of monitoring and evaluation plans; evaluation frames; indicators; data systems; designs of impact evaluation; statistical methods for program monitoring and evaluation |
|
วจปส ๕๘๔ การย้ายถิ่น ความเป็นเมือง และการกระจายตัวทางประชากร
PRPR 584 Migration, Urbanization and Population Distribution |
๓ (๓-๐-๖) |
ทฤษฎีการย้ายถิ่น แนวคิดความเป็นพลเมือง การผสมกลมกลืน ความเป็นพลเมืองแห่งโลก นิยาม แหล่งข้อมูล การวัด รูปแบบและแนวโน้ม ความสัมพันธ์ระหว่างการย้ายถิ่นและเศรษฐกิจ การเมือง เพศภาวะ สุขภาพ สิ่งแวดล้อม และการพัฒนา แนวคิดทฤษฎีความเป็นเมือง การกระจายตัวเชิงพื้นที่ วิถีชีวิตของคนเมือง ความเป็นเมืองและการพัฒนา
Migration theories and concepts, citizenship, assimilation, cosmopolitan; definition; sources of data; measurement; patterns and trends; relationship between migration and economics, politics, gender, health, environment and development; theories and concepts on urbanization; spatial distribution; urban life; urbanization and development |
|
วจปส ๕๘๕ เศรษฐศาสตร์ประชากรและแรงงาน
PRPR 585 Population and Labour Economics |
๓ (๓-๐-๖) |
หลักการ แนวคิดทฤษฎี ด้านเศรษฐศาสตร์ประชากรและแรงงาน นัยยะความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงทางประชากรและกำลังแรงงาน ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ภาวะเจริญพันธุ์ ตลาดแรงงาน อุปสงค์และอุปทานแรงงาน ค่าแรง การกระจายรายได้ ความยากจน การย้ายถิ่น การสาธารณสุข ประชากรสูงอายุและแรงงานสูงอายุ แรงงานข้ามชาติ แรงงานเด็ก
Principles, concepts and theories of population and labour economics; implications of changes in population and labour force; impact on economic system and development, fertility, labour market, labour demand and supply, wage, income distribution, poverty, migration, public health, population ageing and older worker; cross- border migrant worker, child labour |
|
วจปส ๕๘๖ การจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
PRPR 586 Data Management and Survey Data Analysis for Social Science Research |
๓ (๒-๒-๕) |
จริยธรรมในการจัดการข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจ ความรู้พื้นฐานและหลักการในการจัดการข้อมูล การจัดการข้อมูลในวงจรการทำวิจัย การวางแผนการจัดการข้อมูล ชนิดของข้อมูลการวิจัย การประเมินคุณภาพข้อมูล การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและชุดคำสั่งเพื่อการจัดการข้อมูล การทำโครงสร้างข้อมูลและการเปลี่ยนโครงสร้างข้อมูล การสร้างตัวแปรและให้ค่าตัวแปร การเชื่อมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลจากการสำรวจขนาดใหญ่ การตอบคำถามวิจัยและนโยบาย การใช้วิธีการทางสถิติเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่ไม่ต่อเนื่อง ข้อมูลต่อเนื่อง และข้อมูลที่ถูกตัดทิ้ง การแปลผลและอภิปรายผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล
Ethics in data management and survey data analysis ; basic knowledge and principles of data management; data management in research cycle; data management plan; type of research data; assessing data quality; application statistical software and command for data management; constructing data structure and restructuring data sets, creating variables and formatting values; combining data files, analysing large survey data sets, answering research and policy questions, applying statistical methods for analysing discrete, continuous and censored data, interpreting and discussing the results of data analysis |
|
วจปส ๖๐๓ การอ่านเพื่อการวิจัยทางประชากรและสังคม
PRPR 603 Reading for Population and Social Research |
๓ (๓-๐-๖) |
การให้คำปรึกษา แนะนำประเด็นที่สนใจศึกษาเฉพาะด้าน การค้นคว้าเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การอ่าน การวิเคราะห์ การวิพากษ์บทความวิจัย การวางแผนและการออกแบบงานวิจัย การพัฒนาโครงร่างวิทยานิพนธ์
Suggestion guidance for special area of interest; reviewing of related literature; reading; analyzing and criticizing research papers; planning and designing research; developing research proposal |
|
วจปส ๖๒๔ มานุษยนิเวศน์วิทยา
PRPR 624 Human Ecology |
๓ (๓-๐-๖) |
ทฤษฎีมานุษยนิเวศวิทยา ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ การกระจายตัวและการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมของประชากร ดุลยภาพของประชากรกับทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาทางสังคม การขยายเมือง การพัฒนาการคมนาคม การใช้ที่ดิน การปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการดำรงชีพของมนุษย์
Human ecology theories; relationships between human and natural environment; influences of environment on human settlement; human distribution and adaptation to population’s environment; equilibrium of population and natural resources; environment and social development; urbanization; transportation development; land use; appropriate environmental improvement to human life |
(๓) วิทยานิพนธ์
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง) |
วจปส ๖๙๘ วิทยานิพนธ์
PRPR 698 Thesis |
๑๒ (๐-๓๖-๐) |
การออกแบบโครงการวิจัยประเด็นทางด้านประชากรและสังคม การประยุกต์ทฤษฎีด้านประชากรและสังคม การดำเนินการวิจัยอย่างมีจริยธรรม การวิเคราะห์ผลการวิจัย การนำผลงานวิจัยมาเรียบเรียงเป็นวิทยานิพนธ์ การนำเสนอรายงานวิจัย การเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่เป็นมาตรฐานหรือการนำเสนอต่อที่ประชุมวิชาการ
Designing research proposal on population and social issues; application of population and social theories with research; conducting research with ethical concerns; analysing and reporting results in terms of thesis; presenting and publishing research in standard journals or conference proceedings |
|
|
|